ลองไปเรียนรู้ การทำงานศุนย์บริการหลักประกันสุขภาพในหน่วยบริการ แล้วเหลียวมามองดูงานศุนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ใน
"มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพในหน่วยบริการ"
ประกอบด้วยมาตรฐาน 5 ด้าน ดังนี้
1. มาตรฐานด้านกายภาพ
2. มาตรฐานด้านบุคลากร
3. มาตรฐานด้านการดำเนินงานแก้ไขปัญหา
4. มาตรฐานด้านระบบข้อมูล
5. มาตรฐานด้านการพัฒนางานบริการเชิงรุก
วิธีการประเมินมาตรฐาน คือ
1. ประเมินศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพของโรงพยาบาล ในแต่ละด้านให้ครบทุกด้าน
2. รวมคะแนนในแต่ละด้านว่าผ่านเกณฑ์หรือไม่
3. ให้คะแนนตามความเป็นจริง ผลของคะแนนที่ได้จะนำมาเพื่อการพัฒนาในส่วนขาดต่อไป
http://chiangmai.nhso.go.th/
ข้อมูลมาจากเวปไชด์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพเขต1เชียงใหม่
วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ตามข่าว การคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม
เท่าทัน ทั่วถึง ตามข่าวงานคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ผ่านเวปไชด์ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ผ่านกระดานข่าว
http://www.consumerthai.org/index.php?option=com_content&view=category&id=99&Itemid=122
http://www.consumerthai.org/index.php?option=com_content&view=category&id=99&Itemid=122
วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
กำหนดการมหกรรมเครือข่ายลุ่มน้ำ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2552ณ แกรนด์ภูคำ โรงแรมเชียงใหม่ภูคำเวลา กิจกรรม9.00-9.30 ลงทะเบียน
กล่าวต้อนรับ โดย นายอนันต์ ดวงแก้วเรือน ประธานเครือข่ายองค์กรชุมชนจัดการทรัพยากรจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวรายงาน โดย นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
กล่าวเปิด โดย อมรพันธุ์ นิมานันท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่9.30-11.00
นำเสนอประสบการณ์ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเชียงใหม่ กรณี โครงการต้นแบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อำเภอ แม่แจ่มและอำเภออมก๋อย
- ผู้นำชุมชนอำเภอแม่แจ่ม และอำเภออมก๋อย
- นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม
- ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลอมก๋อย อำเภออมก๋อย
- หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแม่โถ
- นายอำเภอแม่แจ่ม
- นายอำเภออมก๋อย
ผู้ดำเนินรายการ โดย นายคณิต ธนูธรรมเจริญ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
11.00–12.30 กลุ่มที่1
ประสบการณ์และข้อเสนอจากตัวแทนอำเภอด้านการแก้ไขปัญหาที่ดินและพัฒนาเกษตร
- กรณีงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น บ้านปางจำปี นายสุจิต ใจมา
- นายสุรชัย มรกตวิจิตรการ บ้านป่าไผ่ ต.แม่โป่ง อ.ดอยสะเก็ด
- กรณีการสำรวจข้อมูล ต.ฮอด
- นายกองค์กรบริหารส่วนตำบลแม่ทา
- ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลแม่วิน
- กรณีโครงการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมอุทยานแห่งชาติออบหลวง
นายพรศักดิ์ ทอดเสียง
ดำเนินรายการโดย นายวิชัย กิจมี สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16
11.00-12.30 กลุ่มที่ 2
ประสบการณ์และข้อเสนอ ต่อการจัดการป่า ไฟป่า การจัดการลุ่มน้ำ
- ประสบการณ์และข้อเสนอต่อการจัดการไฟป่า โดย นายสุนทร เทียรแก้ว
- ประสบการณ์และข้อเสนอต่อการจัดการลุ่มน้ำ โดย นายศักดา บุญมาปะ
- การพัฒนาความรู้ผ่านงานวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการป่าชุมชน
โดย ตัวแทนแม่บ้านแม่ทา
- การเชื่อมโยงแผนชุมชนกับแผนยุทธศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จังหวัด นายสัญญา ทุมตะขบ
ดำเนินรายการ โดย ดร.วสันต์ จอมภักดี
12.30-13.30 พักรับประทานอาหาร
13.30-15.00บทบาทความหมาย และคุณค่าใหม่ของระบบราชการ ในการแก้ไขปัญหาการจัดการทรัพยากรอย่างบูรณาการ
- ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่
- อธิบดีกรมป่าไม้
- อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
- ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
- เลขาธิการสำนักงาน กปร.
- พลเอกสุรินทร์ พิกุลทอง ประธานกรรมการบริหารสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
ดำเนินรายการโดย คุณนฤมล มั่นวงศ์วิโรจน์
15.00-16.00ประมวลสรุปและนำเสนอหลักการสำคัญในการสร้างความร่วมมืออย่างการบูรณาการ โดย
- อ.ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ ประธานสถาบันการเรียนรู้และพัฒนาสังคม
- นางสาวจิริกา นุตาลัย ผู้อำนวยการโครงการปิดทองหลังพระ
- ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงใหม่
16.15-16.45กล่าวปิดเพื่อการเริ่มต้นยุคแห่งความร่วมมือใหม่
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2552ณ แกรนด์ภูคำ โรงแรมเชียงใหม่ภูคำเวลา กิจกรรม9.00-9.30 ลงทะเบียน
กล่าวต้อนรับ โดย นายอนันต์ ดวงแก้วเรือน ประธานเครือข่ายองค์กรชุมชนจัดการทรัพยากรจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวรายงาน โดย นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
กล่าวเปิด โดย อมรพันธุ์ นิมานันท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่9.30-11.00
นำเสนอประสบการณ์ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเชียงใหม่ กรณี โครงการต้นแบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อำเภอ แม่แจ่มและอำเภออมก๋อย
- ผู้นำชุมชนอำเภอแม่แจ่ม และอำเภออมก๋อย
- นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม
- ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลอมก๋อย อำเภออมก๋อย
- หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแม่โถ
- นายอำเภอแม่แจ่ม
- นายอำเภออมก๋อย
ผู้ดำเนินรายการ โดย นายคณิต ธนูธรรมเจริญ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
11.00–12.30 กลุ่มที่1
ประสบการณ์และข้อเสนอจากตัวแทนอำเภอด้านการแก้ไขปัญหาที่ดินและพัฒนาเกษตร
- กรณีงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น บ้านปางจำปี นายสุจิต ใจมา
- นายสุรชัย มรกตวิจิตรการ บ้านป่าไผ่ ต.แม่โป่ง อ.ดอยสะเก็ด
- กรณีการสำรวจข้อมูล ต.ฮอด
- นายกองค์กรบริหารส่วนตำบลแม่ทา
- ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลแม่วิน
- กรณีโครงการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมอุทยานแห่งชาติออบหลวง
นายพรศักดิ์ ทอดเสียง
ดำเนินรายการโดย นายวิชัย กิจมี สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16
11.00-12.30 กลุ่มที่ 2
ประสบการณ์และข้อเสนอ ต่อการจัดการป่า ไฟป่า การจัดการลุ่มน้ำ
- ประสบการณ์และข้อเสนอต่อการจัดการไฟป่า โดย นายสุนทร เทียรแก้ว
- ประสบการณ์และข้อเสนอต่อการจัดการลุ่มน้ำ โดย นายศักดา บุญมาปะ
- การพัฒนาความรู้ผ่านงานวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการป่าชุมชน
โดย ตัวแทนแม่บ้านแม่ทา
- การเชื่อมโยงแผนชุมชนกับแผนยุทธศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จังหวัด นายสัญญา ทุมตะขบ
ดำเนินรายการ โดย ดร.วสันต์ จอมภักดี
12.30-13.30 พักรับประทานอาหาร
13.30-15.00บทบาทความหมาย และคุณค่าใหม่ของระบบราชการ ในการแก้ไขปัญหาการจัดการทรัพยากรอย่างบูรณาการ
- ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่
- อธิบดีกรมป่าไม้
- อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
- ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
- เลขาธิการสำนักงาน กปร.
- พลเอกสุรินทร์ พิกุลทอง ประธานกรรมการบริหารสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
ดำเนินรายการโดย คุณนฤมล มั่นวงศ์วิโรจน์
15.00-16.00ประมวลสรุปและนำเสนอหลักการสำคัญในการสร้างความร่วมมืออย่างการบูรณาการ โดย
- อ.ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ ประธานสถาบันการเรียนรู้และพัฒนาสังคม
- นางสาวจิริกา นุตาลัย ผู้อำนวยการโครงการปิดทองหลังพระ
- ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงใหม่
16.15-16.45กล่าวปิดเพื่อการเริ่มต้นยุคแห่งความร่วมมือใหม่
รวมบทความดีๆ กรณี 3G ในไทย
http://www.mediafire.com/file/eyndynyrlmn/กทช.เร่ง.doc
http://www.mediafire.com/file/mmnmntmtwzk/กสท.doc
http://www.mediafire.com/file/zgjrydmyot2/ดีเทค
http://www.mediafire.com/file/mztz4izqkjd/ถึงตอนนี้ถ้าไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงราวปี http://www.mediafire.com/file/2tkxw2mrnvi/ทีโอที
http://www.mediafire.com/file/ykmzy2zznyy/ม.แม่ฟ้าหลวง
http://www.mediafire.com/file/mmnmntmtwzk/กสท.doc
http://www.mediafire.com/file/zgjrydmyot2/ดีเทค
http://www.mediafire.com/file/mztz4izqkjd/ถึงตอนนี้ถ้าไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงราวปี http://www.mediafire.com/file/2tkxw2mrnvi/ทีโอที
http://www.mediafire.com/file/ykmzy2zznyy/ม.แม่ฟ้าหลวง
วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ภาคเหนือ และศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค 6 จังหวัดในภาคเหนือร่วมทบทวนและพัฒนาการจัดทำแผนที่ผลลัพธ์ของเครือข่ายผู้บริโภค ภาคเหนือครั้งที่ 2
วันที่ 9-10 พฤศจิกายน 52 ณ โรงแรมเกทเวย์ อ.เมือง จ.พะเยา กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ภาคเหนือ มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จัดเวทีทบทวนและพัฒนาการจัดทำแผนที่ผลลัพธ์ของเครือข่ายผู้บริโภค ภาคเหนือครั้งที่ 2 โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งหมด 35 คน มีเป้าประสงค์สำคัญคือการพัฒนาการจัดทำแผนที่ผลลัพธ์ของศูนย์จังหวัดและภาคให้เสร็จสมบุรณ์ เพื่อนำไปสู่การทำงานที่มีกระบวนการ และต่อยอดการทำงานในปี 2553-2554
กระบวนการเรียนรู้ภายในเวทีที่สำคัญคือการให้ศูนย์จังหวัดและภาค ได้ทบทวนและพัฒนาแผนที่ผลลัพธ์การทำงาน โดยเริ่มตั้งแต่ การคิดบันไดบงชี้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของภาคีหุ้นส่วน,การพัฒนา กระบวนการ กิจกรรมเพื่อให้บรรลุ ตัวบงชี้,การวางแผนในเชิงองค์กรเพื่อสนับสนุน เอื้ออำนวย การทำงานของภาคีหุ้นส่วน และพัฒนาเป็นแผนการดำเนินงานองค์กร
การดำเนินงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ใช้เครื่องมือแผนที่ผลลัพธ์ในการวางแผน กระบวนการทำงาน กิจกรรม การติดตาม และทบทวน ทำให้เจ้าหน้าที่ศูนย์คุ้มครองสิทธิได้มีความชัดเจนในเชิงเป้าหมายการทำงาน และกระบวนการขับเคลื่อนการทำงานที่จะทำงานเรื่องคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค มากขึ้น
วันที่ 9-10 พฤศจิกายน 52 ณ โรงแรมเกทเวย์ อ.เมือง จ.พะเยา กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ภาคเหนือ มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จัดเวทีทบทวนและพัฒนาการจัดทำแผนที่ผลลัพธ์ของเครือข่ายผู้บริโภค ภาคเหนือครั้งที่ 2 โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งหมด 35 คน มีเป้าประสงค์สำคัญคือการพัฒนาการจัดทำแผนที่ผลลัพธ์ของศูนย์จังหวัดและภาคให้เสร็จสมบุรณ์ เพื่อนำไปสู่การทำงานที่มีกระบวนการ และต่อยอดการทำงานในปี 2553-2554
กระบวนการเรียนรู้ภายในเวทีที่สำคัญคือการให้ศูนย์จังหวัดและภาค ได้ทบทวนและพัฒนาแผนที่ผลลัพธ์การทำงาน โดยเริ่มตั้งแต่ การคิดบันไดบงชี้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของภาคีหุ้นส่วน,การพัฒนา กระบวนการ กิจกรรมเพื่อให้บรรลุ ตัวบงชี้,การวางแผนในเชิงองค์กรเพื่อสนับสนุน เอื้ออำนวย การทำงานของภาคีหุ้นส่วน และพัฒนาเป็นแผนการดำเนินงานองค์กร
การดำเนินงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ใช้เครื่องมือแผนที่ผลลัพธ์ในการวางแผน กระบวนการทำงาน กิจกรรม การติดตาม และทบทวน ทำให้เจ้าหน้าที่ศูนย์คุ้มครองสิทธิได้มีความชัดเจนในเชิงเป้าหมายการทำงาน และกระบวนการขับเคลื่อนการทำงานที่จะทำงานเรื่องคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค มากขึ้น
วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
พิจิตร ปรับขบวนงานผู้บริโภค รองรับการทำงาปี 53
พิจิตร ปรับขบวนงานคุ้มครองผู้บริโภคผู้บริโภค ได้แรงหนุนจากหลายฝ่าย
ศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมจังหวัดพิจิตร กลไกประสานงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคภาคเหนือ(มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา) และมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ร่วมกันจัดสัมมนาเพื่อเตรียมความพร้อมแกนนำเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดพิจิตร เพื่อนำไปสู่การทำงานคุ้มครองสิทธิเต็มรูปแบบในปี 53
วันที่ 15-16 ตุลาคม 2552 ณ เรือนรับรองสเต็กกำนันเต่า อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตรศูนย์คุ้มครองสิทธิได้จัดการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับคณะทำงานและแกนนำเครือข่ายด้านคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน โดยเน้นให้คามสำคัญกับการทำความเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเป้าหมายในการทำงาน การเพิ่มเติมความรู้ใหม่ ด้านผู้บริโภค เช่น เรื่องร่าง พรบ.องค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภค อนาคต3จีของไทย รวมถึงสถานการณ์การละเมิดสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่พิจิตร
ในวันที่สองมีคุณบุญยืน ศิริธรรม คุณกชกร แสงแถลง ร่วมเพิ่มเติมแนวคิด กำลังใจ ยกประสบการณ์การคุ้มครองผู้บริโภคในภาคตะวันตก มาเรียนรู้ในพิจิตร และเน้นให้กำลังใจ กำลังสมอง เติมไฟลุกโชน ให้กับเครือข่ายการทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิในจังหวัดพิจิตรได้เดินหน้างานอย่างมั่นใจยิ่งขึ้น
ศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมจังหวัดพิจิตร กลไกประสานงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคภาคเหนือ(มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา) และมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ร่วมกันจัดสัมมนาเพื่อเตรียมความพร้อมแกนนำเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดพิจิตร เพื่อนำไปสู่การทำงานคุ้มครองสิทธิเต็มรูปแบบในปี 53
วันที่ 15-16 ตุลาคม 2552 ณ เรือนรับรองสเต็กกำนันเต่า อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตรศูนย์คุ้มครองสิทธิได้จัดการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับคณะทำงานและแกนนำเครือข่ายด้านคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน โดยเน้นให้คามสำคัญกับการทำความเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเป้าหมายในการทำงาน การเพิ่มเติมความรู้ใหม่ ด้านผู้บริโภค เช่น เรื่องร่าง พรบ.องค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภค อนาคต3จีของไทย รวมถึงสถานการณ์การละเมิดสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่พิจิตร
ในวันที่สองมีคุณบุญยืน ศิริธรรม คุณกชกร แสงแถลง ร่วมเพิ่มเติมแนวคิด กำลังใจ ยกประสบการณ์การคุ้มครองผู้บริโภคในภาคตะวันตก มาเรียนรู้ในพิจิตร และเน้นให้กำลังใจ กำลังสมอง เติมไฟลุกโชน ให้กับเครือข่ายการทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิในจังหวัดพิจิตรได้เดินหน้างานอย่างมั่นใจยิ่งขึ้น
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ติดตามเยี่ยมองค์กรผู้บริโภค ภาคเหนือ
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค กลไกประสานงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคภาคเหนือ ออนทัวร์เยี่ยมเยี่ยนศูนย์คุ้มครองสิทธิ์ 4 จังหวัดในภาคเหนือ
วันที่ 29 – 1 พฤศจิกายน 2552 คุณสารี อ่องสมหวัง คุณสุภาพร ถิ่นวัฒนากุล นำทีมน้องจากมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา เยี่ยมติดตาม หนุนเสริมการทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา ลำปาง และจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีทีมทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิ อาสาสมัคร คณะกรรมการ เครือข่าย ภาคีหุ้นส่วน ในจังหวัดเข้าร่วมนำเสนอความก้าวหน้าการทำงาน สถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และทิศทางข้างหน้าของการทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิ เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน
การเยี่ยม ติดตาม หนุนเสริมการทำงานในครั้งนี้ ทำให้ศูนย์ได้เรียนรู้ เข้าใจ และเชื่อมโยงงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคในจังหวัดของตนเองมีความชัดเจนมากขึ้น รวมถึงการเชื่อมโยงงานขบวนผู้บริโภคกับงานด้านอื่นๆ การเตรียมความพร้อมเป็นองค์กรประสานงานองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภค และรวมถึงความยั่งยืนขององค์กรในการทำงานต่อไป
วันที่ 29 – 1 พฤศจิกายน 2552 คุณสารี อ่องสมหวัง คุณสุภาพร ถิ่นวัฒนากุล นำทีมน้องจากมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา เยี่ยมติดตาม หนุนเสริมการทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา ลำปาง และจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีทีมทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิ อาสาสมัคร คณะกรรมการ เครือข่าย ภาคีหุ้นส่วน ในจังหวัดเข้าร่วมนำเสนอความก้าวหน้าการทำงาน สถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และทิศทางข้างหน้าของการทำงานศูนย์คุ้มครองสิทธิ เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน
การเยี่ยม ติดตาม หนุนเสริมการทำงานในครั้งนี้ ทำให้ศูนย์ได้เรียนรู้ เข้าใจ และเชื่อมโยงงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคในจังหวัดของตนเองมีความชัดเจนมากขึ้น รวมถึงการเชื่อมโยงงานขบวนผู้บริโภคกับงานด้านอื่นๆ การเตรียมความพร้อมเป็นองค์กรประสานงานองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภค และรวมถึงความยั่งยืนขององค์กรในการทำงานต่อไป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)