คลิปวีดีโอพลาดใช้มือถือในปั้มน้ำมัน ระบิดคนกระเด็น ไฟท้วม
วันอังคารที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
พัฒนาทีมด้านการเงินให้มีมตราฐานเดียวกัน
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ภาคเหนือได้พัฒนาและยกระดับระบบการจัดการด้านการเงินให้มีความเข้าใจและมีแนวทางเดียวกันในทุกศูนย์คุ้มครองสิทธิฯในระดับจังหวัด
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคฯภาคเหนือ และสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จัดอบรมและทบทวนการจัดการด้านการเงินและ บัญชีให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน กับเจ้าหน้าที่การเงินของศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคฯจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง พะเยา เชียงราย และเพชรบุรณ์ จำนวน13คน เมื่อวันที่ 16 กรกฏาคม 2552 ณ โรงแรมฮอลิเดย์การเดน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
เพื่อให้ระบบการเงินการบัญชีของศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ภาคเหนือ มีระบบการจัดการบัญชีและการเงินเป็นมาตรฐานเดียวกันและเชื่อมโยงระบบการจัดการและตรวจสอบกับสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ได้
โดยได้ทบทวนระบบและระเบียบการจัดการเงิน-การบัญชีในแต่ละขั้นตอน การจัดการใบเสร็จ ใบสำคัญรับเงิน ตามระเบียบการเงินของสถาบันคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งจะทำให้ระบบการเงินทั้งหมดสามารถตรวจสอบได้ง่ายและมีความถูกต้องอย่างชัดเจนมากขึ้นด้วย
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ภาคเหนือได้พัฒนาและยกระดับระบบการจัดการด้านการเงินให้มีความเข้าใจและมีแนวทางเดียวกันในทุกศูนย์คุ้มครองสิทธิฯในระดับจังหวัด
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคฯภาคเหนือ และสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จัดอบรมและทบทวนการจัดการด้านการเงินและ บัญชีให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน กับเจ้าหน้าที่การเงินของศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคฯจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง พะเยา เชียงราย และเพชรบุรณ์ จำนวน13คน เมื่อวันที่ 16 กรกฏาคม 2552 ณ โรงแรมฮอลิเดย์การเดน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
เพื่อให้ระบบการเงินการบัญชีของศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ภาคเหนือ มีระบบการจัดการบัญชีและการเงินเป็นมาตรฐานเดียวกันและเชื่อมโยงระบบการจัดการและตรวจสอบกับสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ได้
โดยได้ทบทวนระบบและระเบียบการจัดการเงิน-การบัญชีในแต่ละขั้นตอน การจัดการใบเสร็จ ใบสำคัญรับเงิน ตามระเบียบการเงินของสถาบันคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งจะทำให้ระบบการเงินทั้งหมดสามารถตรวจสอบได้ง่ายและมีความถูกต้องอย่างชัดเจนมากขึ้นด้วย
สร้างพลังเครือข่ายนักวิชาการ ภาคเหนือครั้งที่2
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมภาคเหนือ ร่วมกับเครือข่ายนักวิชาการ เสริมสร้างพลังการทำงานร่วมกับองค์กรผู้บริโภค
วันที่ 16 กรกฏาคม 2552 ณ โรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคฯภาคเหนือ ร่วมกับสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมและเครือข่ายนักวิชาการจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวรพะเยา มหาวิทยาลัยราชภัฎจังหวัดเชียงราย และเครือข่ายนักวิชาการจากจ.ลำปาง มาร่วมประชุมเป็นครั้งที่2 เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายนักวิชาการกับองค์กรผู้บริโภคในการแก้ไขปัญหาผู้บริโภคโดยเฉพาะด้าน โทรคมนาคม
ผศ.ดร.นิภาภณธ์ ศิริผล จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เสนอแนวคิดที่น่าสนใจในการศึกษาวิจัยพื้นที่เข้มข้นของสัญญาณ ที่ส่งผลต่อสุขภาพ โดย มีแนวทางการศึกษาได้แก่การเก็บข้อมูลพื้นที่เข้มข้นของสัญญาณที่ส่งผลต่อสุขภาพ การพัฒนาเครื่องมือวัดสัญญาณเฉพาะความถี่ และการรณรงค์สร้างความเข้าใจการใช้โทรศัพท์มือถืออย่างรู้เท่าทัน .....เช็คตรงนี้อีกครั้งหนึ่งพี่ไม่ค่อยแน่ใจนะว่าสรุปถูกค้อง????
นอกจากนี้ในส่วนของสถาบันการศึกษาที่อื่นๆ ได้มีความสนใจที่จะทำงานสนับสนุนด้านวิชาการร่วมกับองค์กรผู้บริโภคในระดับจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นการเก็บข้อมูลสถานการณ์กรณีSMSกวนใจ การรณรงค์สร้างความตระหนักและความตื่นตัวเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคให้กับนักศึกาของแต่ละสถาบัน เป็นต้น
กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมภาคเหนือ ร่วมกับเครือข่ายนักวิชาการ เสริมสร้างพลังการทำงานร่วมกับองค์กรผู้บริโภค
วันที่ 16 กรกฏาคม 2552 ณ โรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ กลไกศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคฯภาคเหนือ ร่วมกับสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมและเครือข่ายนักวิชาการจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวรพะเยา มหาวิทยาลัยราชภัฎจังหวัดเชียงราย และเครือข่ายนักวิชาการจากจ.ลำปาง มาร่วมประชุมเป็นครั้งที่2 เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายนักวิชาการกับองค์กรผู้บริโภคในการแก้ไขปัญหาผู้บริโภคโดยเฉพาะด้าน โทรคมนาคม
ผศ.ดร.นิภาภณธ์ ศิริผล จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เสนอแนวคิดที่น่าสนใจในการศึกษาวิจัยพื้นที่เข้มข้นของสัญญาณ ที่ส่งผลต่อสุขภาพ โดย มีแนวทางการศึกษาได้แก่การเก็บข้อมูลพื้นที่เข้มข้นของสัญญาณที่ส่งผลต่อสุขภาพ การพัฒนาเครื่องมือวัดสัญญาณเฉพาะความถี่ และการรณรงค์สร้างความเข้าใจการใช้โทรศัพท์มือถืออย่างรู้เท่าทัน .....เช็คตรงนี้อีกครั้งหนึ่งพี่ไม่ค่อยแน่ใจนะว่าสรุปถูกค้อง????
นอกจากนี้ในส่วนของสถาบันการศึกษาที่อื่นๆ ได้มีความสนใจที่จะทำงานสนับสนุนด้านวิชาการร่วมกับองค์กรผู้บริโภคในระดับจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นการเก็บข้อมูลสถานการณ์กรณีSMSกวนใจ การรณรงค์สร้างความตระหนักและความตื่นตัวเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคให้กับนักศึกาของแต่ละสถาบัน เป็นต้น
วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ในโอกาสที่ คบท./สบท. ได้สัญจรมาเยือนจังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 29-30 มิถุนายน 2552 ณ ห้องประชุมภูกามยาว ชั้น 5 ศาลากลาง จังหวัดพะเยา ทางส่วนคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดพะเยา,กลไกประสานงาน ศบท.ภาคเหนือ ภายใต้มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา และสบท. ได้ร่วมกันจัดเวทีสาธารณะขึ้นเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในกิจการโทรคมนาคมที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน
รายละเอียดเพิ่มเติม..http://consumerpdf.blogspot.com/.
สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในการโทรคมนาคม เยี่ยมศูนย์คุ้มครองสิทธิจังหวัดพะเยา
คณะกรรมการสถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม(คบท) และเจ้าหน้าที่สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม(สบท)เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. เข้าเยี่ยมเยือนศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552 โดยมีเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ พะเยา เจ้าหน้าที่ศูนย์จังหวัดในภคเหนือมีจังหวัดลำปาง เชียงราย พิจิตร เพชรบุรณ์ และกลไกภาคเหนือ เครือข่ายและอาสาสมัครของศูนย์พะเยาให้การต้อนรับ คบท. และสบท.....
รายละเอียดเพิ่มเติม http://consumerpdf.blogspot.com/
รายละเอียดเพิ่มเติม http://consumerpdf.blogspot.com/
ฟ้าผ่าข้อเท็จจริงที่ควรรู้
ฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากการปลดปล่อย ประจุไฟฟ้าในอากาศ ฟ้าผ่าที่เกี่ยวข้องกับคนส่วนใหญ่เป็นการปลดปล่อยประจุออกจากเมฆฝนฟ้าคะนองหรือที่นักอุตุนิยมวิทยา เรียกว่า"เมฆคิวมูโลนิมบัส" (Cumulonimbus)
เมฆฝนฟ้าคะนอง มีลักษณะเป็นก้อนเมฆใหญ่มหึมา บริเวณฐานเมฆ (ขอบล่าง) สูงจากพื้นราว 2 กิโลเมตร ส่วนยอดเมฆ (ขอบบน) อาจสูงได้ถึง 20 กิโลเมตร ภายในก้อนเมฆมีการไหลเวียนของกระแสอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้หยดน้ำและก้อนนำแข็งในเมฆเสียดสีกันจนเกิดประจุไฟฟ้า
"ฟ้าผ่า" มีอย่างน้อย 4 แบบหลัก ได้แก่
1) ฟ้าผ่าภายในก้อนเมฆ ฟ้าผ่าแบบนี้เกิดเกิดมากที่สุด และทำให้เมฆเปล่งแสงกระพริบที่คนไทยเราเรียกว่า "ฟ้าแลบ" นั่นเอง
2) ฟ้าผ่าจากเมฆก้อนหนึ่งไปยังเมฆอีกก้อนหนึ่ง
3) ฟ้าผ่าจากฐานเมฆลงสู่พื้น เป็นการปลดปล่อยประจุลบออกจากก้อนเมฆ จึงเรียกว่า "ฟ้าผ่าแบบลบ" (Negative Lightning) ซึ่งเป็นฟ้าผ่าที่อันตรายต่อคน สัตว์ และสิ่งต่างๆที่อยู่บนพื้น โดยจะผ่าลงบริเวณ "ใต้เงา" ของเมฆฝนฟ้าคะนองเป็นหลัก
4) ฟ้าผ่าจากยอดเมฆลงสู่พื้น เป็นการปลดปล่อยประจุบวกออกจากก้อนเมฆ จึงเรียกว่า "ฟ้าผ่าแบบบวก" (Positive Lightning) สามารผ่าได้ไกลจากก้อนเมฆได้ถึง 30 กิโลเมตร นั่นคือ แม้ท้องฟ้าเหนือศรีษะของเราจะดูปลอดโปร่ง แต่เราอาจถูกฟ้าผ่า (แบบบวก) ได้หากมีเมฆฝนฟ้าคะนองอยู่ห่างไกลออกไปในระยะ 30 กิโลมตร อันเป็นที่มาของคำว่า "ฟ้าผ่ากลางวันแสกๆ" ซึ่งเป็นฟ้าผ่าที่เกิดขึ้นโดยเราไม่ได้คาดคิดนั่นเอง
ฟ้าผ่ากับผลกระทบต่อ "ชีวิตคน"
ข้อมูลจาก นพ.อดิศีกดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอกดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี ระบุว่า ผู้ถูกฟ้าผ่าประมาณ 1/3 หรือร้อยละ 30 เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ส่วนที่รอดจะมีความพิการถาวรจากการถูกทำลายระบบประสาท เช่น อัมพาต ตาบอด หูหนวก เป็นต้น
ไฟฟ้าจากฟ้าผ่า มีแรงดันไฟฟ้าสูงถึง 100 ล้านโวลต์ มีกระแสไฟฟ้าประมาณ 25-250 กิโลแอมแปร์ (KA) มีอุณหภูมิประมาณ 15,000 องศาเซลเซียส มีความเร็วประมาณ 1/10 ของความเร็วแสง สามารถวิ่งผ่านร่างกายด้วยเวลาเพียง 1/10,000 - 1/1,000 วินาที จึงส่งผลต่อการเต้นของหัวใจและการทำงานของระบบประสาท
สถิติความสูญเสียจากฟ้าผ่าในประเทศไทย ข้อมูลจากการนำเสนอข่าวประเด็นฟ้าผ่าในสื่อหนังสือพิมพ์ พบว่า ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 - มิถุนายน 2552 มีผู้เสียชีวิต 39 คน บาดเจ็บ 16 คน
เมฆฝนฟ้าคะนอง มีลักษณะเป็นก้อนเมฆใหญ่มหึมา บริเวณฐานเมฆ (ขอบล่าง) สูงจากพื้นราว 2 กิโลเมตร ส่วนยอดเมฆ (ขอบบน) อาจสูงได้ถึง 20 กิโลเมตร ภายในก้อนเมฆมีการไหลเวียนของกระแสอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้หยดน้ำและก้อนนำแข็งในเมฆเสียดสีกันจนเกิดประจุไฟฟ้า
"ฟ้าผ่า" มีอย่างน้อย 4 แบบหลัก ได้แก่
1) ฟ้าผ่าภายในก้อนเมฆ ฟ้าผ่าแบบนี้เกิดเกิดมากที่สุด และทำให้เมฆเปล่งแสงกระพริบที่คนไทยเราเรียกว่า "ฟ้าแลบ" นั่นเอง
2) ฟ้าผ่าจากเมฆก้อนหนึ่งไปยังเมฆอีกก้อนหนึ่ง
3) ฟ้าผ่าจากฐานเมฆลงสู่พื้น เป็นการปลดปล่อยประจุลบออกจากก้อนเมฆ จึงเรียกว่า "ฟ้าผ่าแบบลบ" (Negative Lightning) ซึ่งเป็นฟ้าผ่าที่อันตรายต่อคน สัตว์ และสิ่งต่างๆที่อยู่บนพื้น โดยจะผ่าลงบริเวณ "ใต้เงา" ของเมฆฝนฟ้าคะนองเป็นหลัก
4) ฟ้าผ่าจากยอดเมฆลงสู่พื้น เป็นการปลดปล่อยประจุบวกออกจากก้อนเมฆ จึงเรียกว่า "ฟ้าผ่าแบบบวก" (Positive Lightning) สามารผ่าได้ไกลจากก้อนเมฆได้ถึง 30 กิโลเมตร นั่นคือ แม้ท้องฟ้าเหนือศรีษะของเราจะดูปลอดโปร่ง แต่เราอาจถูกฟ้าผ่า (แบบบวก) ได้หากมีเมฆฝนฟ้าคะนองอยู่ห่างไกลออกไปในระยะ 30 กิโลมตร อันเป็นที่มาของคำว่า "ฟ้าผ่ากลางวันแสกๆ" ซึ่งเป็นฟ้าผ่าที่เกิดขึ้นโดยเราไม่ได้คาดคิดนั่นเอง
ฟ้าผ่ากับผลกระทบต่อ "ชีวิตคน"
ข้อมูลจาก นพ.อดิศีกดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอกดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี ระบุว่า ผู้ถูกฟ้าผ่าประมาณ 1/3 หรือร้อยละ 30 เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ส่วนที่รอดจะมีความพิการถาวรจากการถูกทำลายระบบประสาท เช่น อัมพาต ตาบอด หูหนวก เป็นต้น
ไฟฟ้าจากฟ้าผ่า มีแรงดันไฟฟ้าสูงถึง 100 ล้านโวลต์ มีกระแสไฟฟ้าประมาณ 25-250 กิโลแอมแปร์ (KA) มีอุณหภูมิประมาณ 15,000 องศาเซลเซียส มีความเร็วประมาณ 1/10 ของความเร็วแสง สามารถวิ่งผ่านร่างกายด้วยเวลาเพียง 1/10,000 - 1/1,000 วินาที จึงส่งผลต่อการเต้นของหัวใจและการทำงานของระบบประสาท
สถิติความสูญเสียจากฟ้าผ่าในประเทศไทย ข้อมูลจากการนำเสนอข่าวประเด็นฟ้าผ่าในสื่อหนังสือพิมพ์ พบว่า ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 - มิถุนายน 2552 มีผู้เสียชีวิต 39 คน บาดเจ็บ 16 คน
ข้อมูลจากhttp://consumerphichit.blogspot.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)